saura9.com

สม ถ กรรมฐาน 40

September 7, 2022, 7:54 pm

วิญญาณัญจายตนะ 3. อากิญจัญญายตนะ 4. เนวสัญญานาสัญญายตนะ กรรมฐานแยกต่างหากอีก 2 คือ 1. อาหาเรปฏิกูลสัญญา คือ สิ่งปฏิกูลน่าเกลียด 2. จตุธาตุววัตถาน คือ ธาตุทั้ง 4 ประชุมตน คุณความสามารถของกสินทั้ง 40 กอง: 1. กสิน 10 ทั้งหมดและอานาปานัสสติ (อยู่ในอนุสสติ 10) มีอำนาจส่งผลให้ผู้บำเพ็ญได้ถึงรูปฌานที่ 4 หรือจตุตฌาน (ปฏิภาคนิมิต) จัดเป็นฌานสูงสุด 2. อสุภะ 10 ทั้งหมดและกายคตาสติ (อยู่ในอนุสสติ 10) มีอำนาจส่งผลให้ผู้บำเพ็ญได้ถึงปฐมฌาน (ปฏิภาคนิมิต) เท่านั้น เพราะเป็นอารมณ์ที่หยาบหรือน่าเกลียดมากนั่นเอง เสมือนเรือที่จอดอยู่ในกระแสน้ำที่ไหลเชียว จะอยู่นิ่งได้ก็ต้องอาศัยหลักเสาหรือว่าตอไม้ยึดอยู่ 3. อนุสสติ 10 (ยกเว้นอานาปานัสสติและกายคตสติ) และอาหาเรปฏิกูลสัญญา, จตุธาตุววัตถาน จัดเป็นอารมณ์กรรมฐานที่ให้ได้เพียงแค่อุปจารสมาธิ(อุคคหนิมิต) เท่านั้นเพราะเป็นอารมณ์ที่มีความละเอียดและสุขุมลึกซึ้งมาก ผู้ที่บำเพ็ญภาวนา จำเป็นจะต้องระลึกไปถึงในพระพุทธคุณทั้งหลายเหล่านั้น อย่างกว้างขวางตามพระคุณต่างๆ ที่มีอยู่อย่างกว้างขวางนั่นเอง (เปรียบเสมือนเรือที่จอดอยู่ในทะเลลึกทอดสมอไม่ถึงดิน) เรือไม่อาจจะอยู่กับที่ได้ 4.

สมถะ - วิกิพีเดีย

สิงห์บุรี โดย พท. วิง รอดเฉย ปี พ. ศ. 2529 ได้กล่าวไว้ว่าการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานนั้น มีประโยชน์มากมายเหลือที่จะนับประมาณได้ จะยกมาแสดงตามที่ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก สักเล็กน้อย ดังนี้ คือ 1. สัตตานัง วิสุทธิยา: ทำกายวาจาใจ ของสรรพสัตว์ให้บริสุทธิ์ 2. โสกะปะสิเทวานัง สะมะติกกะมายะ: ดับความเศร้าโศก ปริเทวนาการต่างๆ 3. ทุกขะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมายะ: ดับความทุกข์กาย ดับความทุกข์ใจ 4. ญาณัสสะ อะธิคะมายะ: เพื่อบรรลุมรรคผล 5. นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ: เพื่อทำนิพพานให้แจ้ง และยังมีอื่นๆ อีกมาก เช่นตัวอย่าง 16 ข้อ ดังนี้ 1. ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท 2. ชื่อว่าเป็นผู้ป้องกันภัยในอบายภูมิทั้งสี่ 3. ชื่อว่าได้บำเพ็ญไตรสิกขา 4. ชื่อว่าได้เดินสายกลาง คือ มรรค 8 5. ชื่อว่าได้บูชาพระพุทธเจ้าด้วยการบูชาอย่างสูงสุด 6. ชื่อว่าได้บำเพ็ญ ศีล สมาธิ ปัญญา ให้เป็นอุปนิสัยปัจจัยในภายหน้า 7. ชื่อว่าได้ปฏิบัติถูกต้องตามพระไตรปิฎกโดยแท้จริง 8. ชื่อว่าเป็นผู้มีชีวิต ไม่เปล่าประโยชน์ทั้งสาม 9. ชื่อว่าได้เข้าถึงพระรัตนตรัยอย่างถูกต้อง10. ชื่อว่าได้ปฏิบัติเพื่อให้เกิดวิปัสสนาญาณ 16 11. ชื่อว่าได้สั่งสมอริยทรัพย์ไว้ในภายใน 12.

สมถกรรมฐาน กรรมฐานชนิดนี้เป็นอุบายที่ให้ใจสงบ จิตสงบ บริสุทธิ์ชั่วขณะ คือ ใจที่อบรมในทางสมถะแล้ว จะเกิดนิ่ง และเกาะอยู่กับอารมณ์หนึ่งเพียงอย่างเดียว เช่น การสวดมนต์ การไหว้พระ การนั่ง การเดินจงกรม เป็นต้น มี 7 หมวด ได้แก่ อสุภะ 10 อนุสติ 10 พรหมวิหาร 4 อรูปธรรม เป็นต้น 2. วิปัสสนากรรมฐาน กรรมฐานชนิดนี้เป็นอุบายให้เกิดปัญญา เกิดปัญญาเห็นแจ้ง ทำให้จิตบริสุทธิ์ตลอดไป หมายความว่า เห็นปัจจุบัน เห็นรูปนาม เห็นพระไตรลักษณ์และเห็นมรรคผล นิพพาน มีอารมณ์อยู่กับวิปัสสนาภูมิ 6 อย่าง คือ ขันธ์ 5 อายตนะ 12 ธาตุ 18 อินทรีย์ 22 อริยสัจจ์ 4 ปฏิจจสมุปบาท 12 กรรมฐาน 2 อย่างนี้ต่างกันตรงที่ "อารมณ์สมถกรรมฐาน" เอา "บัญญัติ" เป็นอารมณ์ ส่วนวิปัสสนากรรมฐาน เอา "รูปนาม" เป็นอารมณ์ วิปัสสนากรรมฐาน เป็นเรื่องของการศึกษาชีวิต เพื่อจะปลดเปลื้องความทุกข์นานาประการออกเสียจากชีวิต เป็นเรื่องของการค้นหาความจริงว่า…ชีวิตมันคืออะไรแน่?

อารมณ์กรรมฐาน 40

สม ถ กรรมฐาน 40 euros
สมถกรรมฐาน 40 กองและคุณความสามารถของกรรมฐานทั้ง 40 กอง กสิน 10 1. ปฐวีกสิน 2. อาโปกสิน 3. เตโชกสิน 4. วาโยกสิน 5. นีละกสิน 6. ปีตะกสิน 7. โลหิตกสิน 8. โอทาตะกสิน 9. อากาสะกสิน 10. อาโลกะกสิน อสุภะ10 1. อุทธมาตถะอสุภะ 2. วินิลกะอสุภะ 3. วิปุพพกะอสุภะ 4. วิฉิททะอสุภะ 5. วิกขายตถะอสุภะ 6. วิกขิตตถะอสุภะ 7. หตวิกขิตตกอสุภะ 8. โลหิตกะอสุภะ 9. ปุฬุวกะอสุภะ 10. อัฎกะอสุภะ อนุสสติ 10 1. พุทธานุสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า 2. ธัมมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระธรรม 3. สังฆานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระสงฆ์ 4. สีลานุสสติ คือ การระลึกถึงศีลของตน 5. จาคานุสสติ คือ การระลึกถึงทานที่ตนบริจาคแล้ว 6. เทวตานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณที่ทำบุคคลให้เป็นเทวดา 7. อุปสมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณพระนิพพาน ซึ่งเป็นที่ระงับกิเลสและกองทุกข์ 8. มรณานุสสติ คือ การระลึกถึงความตายที่จะมาถึงตน 9. กายคตาสติ คือ ระลึกทั่วไปในกาย ให้เห็นว่าไม่งาม น่าเกลียด 10. อานาปานัสสติ คือ การตั้งสติกำหนดลมหายใจ เข้าออก อัปปมัญญา 4 1. เมตตาอัปปมัญญา 2. กรุณาอัปปมัญญา 3. มุทิตาอัปปมัญญา 4. อุเบกขาอัปปมัญญา อรูป 4 1. อากาสานัญจายตนะ 2.

สมถกรรมฐาน

สม ถ กรรมฐาน 40.fr

อรูป 4 มีอำนาจส่งผลให้ผู้บำเพ็ญได้ถึงอรูปฌาน 4 (อุคคหนิมิต) ในระดับอัปปนาสมาธิ 5. อัปปมัญญา 4 ทั้งหมด ยกเว้น อุเบกขาอัปปมัญญา มีอำนาจส่งผลให้ผู้บำเพ็ญได้รูปฌานที่ 3 ส่วนอุเบกขาอัปปมัญญา จะได้ปัญจมฌาน ข้อแตกต่างระหว่างอุคคหนิมิตกับปฏิภาคนิมิตคือ อุคคหนิมิต เป็นนิมิตที่มีเพียงการย่อ หรือ ขยาย จำได้ติดตา ติดใจ ส่วนปฏิภาคนิมิต เป็นนิมิตที่สามารถ กำหนดให้มีความสว่าง เห็นรูป ได้ชัดเจน กฎระเบียบของวิปัสสนามี 7 อย่างคือ 1. ห้ามมิให้ปล่อยจิตติดอารมณ์ ภายนอกเกินไป 2. ห้ามไม่ให้จิตห่างจากอารมณ์ คือ อาการไหว อาการนิ่งเกินไป 3. ห้ามไม่ให้ทำความเพียรกล้าหาญเกินไป 4. ห้ามไม่ได้ทำความเพียรอ่อนแอเกินไป 5. ห้ามไม่ได้เพ่งรูปนามในอดีตที่ล่วงไปแล้ว 6. ห้ามไม่ให้เพ่งรูปนามในอนาคตที่ยังมาไม่ถึง 7. ให้เพ่งรูปนามที่เป็นปัจจุบันอย่างเดียว คือ รูปนามที่เกิดขึ้น ปรากฏขึ้นในขณะนั้นที่มีอยู่ ปรากฏอยู่ยังไม่หายในทวารทั้ง 6 ที่เรียกว่า รูปนามที่เป็นปัจจุบัน คือ ขณะกายเคลื่อนไหว และร่างกายนิ่งขณะตาเห็นรูป ขณะหูได้ยินเสียง ขณะจมูกได้กลิ่น ขณะลิ้นได้รส ขณะกายได้สัมผัส เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ขณะจิตนึกคิด นี้แหล่เรียกว่ารูปนาม ที่เป็นปัจจุบัน ข้อห้ามของวิปัสสนา มี 6 ข้อ คือ 1.

วิปัสสนากรรมฐาน : โดย นพ.วิชัย เทียนถาวร

บ้านธัมมะ กระดานสนทนา กระทู้สนทนาธรรม 2550 อารมณ์กรรมฐาน 40 oom วันที่ 26 พ. ย. 2550 หมายเลข 5667 อ่าน 8, 149 อยากทราบอารมณ์กรรมฐาน 40 มีอะไรบ้าง จำได้ 3 ข้อ คือ 1. อสุภ 10 2. กสิณ 10 3. อนุสติ 10 ที่เหลือจำไม่ได้ว่าคืออะไร ความคิดเห็นที่ 1 study ความคิดเห็นที่ 2 wannee. s กรรมฐานหมายถึง อารมณ์เป็นที่ตั้งของการงานหรือการกระทำ การงาน คือ สมถภาวนา สมถะ หมายถึง สงบจากอกุศล คือ โลภะ โทสะ โมหะ ภาวนาหมายถึงการอบรม การเจริญขึ้นค่ะ สมถภาวนาในชีวิตประจำวัน คือ การระลึกถึงพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณหรือระลึกถึงความตาย ทำให้ไม่ประมาทในการบำเพ็ญความดี การฟังธรรมะ เพราะชีวิตไม่แน่นอนค่ะ ฯลฯ ความคิดเห็นที่ 3 วันที่ 27 พ. 2550 ขอบพระคุณมากค่ะ ที่ช่วยให้ความรู้ ความคิดเห็นที่ 4 แช่มชื่น วันที่ 28 พ.

สม ถ กรรมฐาน 40.com
  1. บวก ลบ เลข ฐาน
  2. ราคากระเป๋า แม่ภนิดา ที่สะพายมางาน อาลัย บุตรสาว – Khao Info
  3. วิทยุ เทป เก่า download
  4. 'ไทยร่วมใจ' ให้ผู้มีอายุ 60 ปีขึ้นไปลงทะเบียนฉีดวัคซีนวันนี้ '18-59 ปี' เลื่อนอีกแล้ว!
  5. ABOUT US - IRRADIANCE SOLAR บริษัท อิเรเดี๊ยน โซล่า จำกัด
  6. สร้าง บ้าน งบ 100 000 dollars
  7. Bleu De Chanel Parfum 100Ml ราคา
  8. What metal is used in knee replacements

ห้ามไม่ให้หยุดการปฏิบัติ เว้นแต่ไว้เผลอ หรือหลับ 2. ห้ามไม่ให้พูดกับคนภายนอก เว้นไว้แต่อาจารย์ผู้สอนกรรมฐาน ถ้าจำเป็นต้องพูดกับบุคคลภายนอก ก็ควรพูดแต่น้อยโดยอาการสำรวม คือ หลับตา และตั้งสติกำหนดรู้ ที่ปากทุกๆ คำพูด 3. ห้ามไม่ให้ทำกิจเล็กๆ น้อยๆ ทุกอย่างที่ไม่จำเป็น เช่น อ่านหนังสือ หรือเขียนหนังสือ เป็นต้น 4. ห้ามไม่ให้นอนหลับกลางวัน กลางคืนนอนแต่น้อย ทำความเพียรให้มาก 5. ห้ามของเสพติดทุกชนิด เช่น หมากพลู บุหรี่ ถ้าละไม่ได้ก็ให้เพียรละ หรือให้บรรเทาเบาบางลง 6. ห้ามไม่ให้พูดคุยกับผู้ปฏิบัติด้วยกัน เครื่องปลิโพธกังวล (24 ข้อ) 1. ไม่ห่วงกุฏิ 2. ไม่ห่วงวัด 3. ไม่ห่วงบ้าน 4. ไม่ห่วงสกุล 5. ไม่ห่วงใยในการต้อนรับปราศรัย 6. ไม่ห่วงลาภสักการะ 7. ไม่ห่วงหมู่คณะ 8. ไม่ห่วงทรัพย์สินเงินทอง 9. ไม่ห่วงในการประชุม 10. ไม่ห่วงในการทำธุรกิจ 11. ไม่ห่วงในการสร้างวัด 12. ไม่ห่วงในการสร้างบ้าน 13. ไม่ห่วงในการเดินทาง 14. ไม่ห่วงญาติมิตร 15. ไม่ห่วงในโลก 16. ไม่ห่วงในการรักษาพยาบาล 17. ไม่ห่วงในการศึกษาเล่าเรียน 18. ไม่ห่วงในการสอน 19. ไม่ห่วงในการทำยันต์ 20. ไม่ห่วงในการลงตะกรุด 21. ไม่ห่วงการทำน้ำมนต์ 22.

saura9.com, 2024