saura9.com

โรค จาก พันธุกรรม — โรค ทาง พันธุกรรม ที่ เกิด จาก โครโมโซม เพศ

September 17, 2022, 6:06 am

สาระน่ารู้อณูพันธุศาสตร์. กรุงเทพฯ: เท็กซ์แอนด์เจอร์นัลพับลิเคชัน; 2548.

  1. 4 โรคพันธุกรรม ที่คู่สมรสควรตรวจก่อนมีบุตร | Jetanin
  2. “โรคแอลเอสดี” โรคพันธุกรรมที่พบมากขึ้นในประเทศไทย • รามา แชนแนล

4 โรคพันธุกรรม ที่คู่สมรสควรตรวจก่อนมีบุตร | Jetanin

  1. เช็คพัสดุ FedEx บริการติดตามพัสดุ เช็คเลขพัสดุ FedEx
  2. 5 เว็บสำหรับฝึกเขียน Python ที่ดีที่สุดในปัจจุบัน - Enterprise IT Pro
  3. ขาย เค อา 150 4th international conference
  4. หมวก real cyber air
  5. โรค ทาง พันธุกรรม ที่ เกิด จาก โครโมโซม เพศ
  6. เบลล์ นิภาดา ประวัติ
  7. บท สวด แปล
  8. สอบ ส ส ว ท
  9. เกี่ยวกับองค์กร - CSD | กองบังคับการปราบปราม
  10. นก ปรอท สวน
  11. ส่วนลด grab car rental

โรคร้ายทุกวันนี้ เป็นเรื่องที่ไม่ได้ไกลตัวเราเสียเท่าไหร่ แน่นอนว่าบางครั้ง ต่อให้คุณรักษาสุขภาพดีมากแค่ไหน แต่บางโรคร้ายเองก็สามารถสืบทอดมาทางพันธุกรรมได้!

สร้างสายโกลบินได้น้อยลงหรือสร้างไม่ได้เลยเป็นภาวะโลหิตจาง (alpha-หรือ beta-thalassemia) 2. )

1 ความผิดปกติของโครโมโซมร่างกาย ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ เกิดจากการขาดหายของโครโมโซม ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการขาดหายของโครโมโซมร่างกายได้แก่ กลุ่มอาการคริดูชาต์ (Cri-du-chat syndrome) เกิดจากการที่ส่วนของแขนข้างสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไป 1 โครโมโซม ความผิดปกตินี้จะพบในเด็กหญิงมากกว่าเด็กชาย ลักษณะอาการที่พบคือ ศีรษะเล็กกว่าปกติ ใบหูต่ำ หน้ากลม ตาห่างและชี้ คางเล็กจมูกแบน มีอาการปัญญาอ่อน มีเสียงร้องแหลมสูงเหมือนแมว จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Cat – cry syndrome 1. 2 เกิดจากการเพิ่มจำนวนโครโมโซม ตัวอย่างของโรคที่เกิดจากการเพิ่มจำนวนโครโมโซมได้แก่ กลุ่มอาการพาโตว์ กลุ่มอาการเอ็ดวาร์ด กล่มอาการดาวน์ 2.

กุลวี เนตรมณี, ศ. อภิชัย คงพัฒนโยธิน ศ. ยงภู่วรวรรณ และคณะ) ร่วมกับสถาบันชั้นนำในประเทศอีก 10 สถาบัน ได้รับทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (ว. ช. )

“โรคแอลเอสดี” โรคพันธุกรรมที่พบมากขึ้นในประเทศไทย • รามา แชนแนล

ยังให้ทุนสนับสนุนการศึกษา ผลการรักษาโรคนี้ด้วยการจี้ทำลายจุดที่ผิดปกติในหัวใจด้วยคลื่นวิทยุ (RF ablation) เทียบกับการรักษามาตรฐานในปัจจุบัน ผลการรักษายังได้รับการติดตามอยู่ในขณะนี้ ซึ่งถ้าได้รับการพิสูจน์ว่ามีข้อดีมากกว่าข้อเสีย อาจจะเป็นการนำไปสู่แนวทางการรักษาโรคนี้ที่ได้ผลดียิ่งขึ้นในอนาคต หมายเหตุ งานวิจัยนี้ผมเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย ในส่วนของการถอดรหัสพันธุกรรมของมนุษย์

Fragile-X syndrome กลุ่มอาการโครโมโซมเอกซ์เปราะเป็นภาวะพัฒนาการทางสติปัญญาช้า ซึ่งถ่ายทอดทางพันธุกรรมผ่าน โครโมโซมเอกซ์ ลักษณะอาการของคนที่เป็น Fragile-X syndrome คือ ระดับสติปัญญาปานกลางถึงต่ำ มีภาวะคล้าย autism สมาธิสั้นอยู่ไม่นิ่ง (attentiondeficit/hyper- activity) โดยอาการด้านสติปัญญาจะรุนแรงกว่าในเพศชาย Fragile-X syndrome เกิดจากอะไร ≥ Fragile-X syndrome เกิดจากการกลายพันธุ์ของยีน fragile X mentalretardation-1 (FMR1) บนโครโมโซม X ตำแหน่ง q27. 3 เป็นการกลายพันธุ์แบบมีชุดเบสซ้ำ คือ มีการเพิ่มจำนวนของชุดเบส Cytosine-GuanineGuanine (CGG) ซ้ำ ที่บริเวณส่วนต้นของยีน FMR1 (5' UTR) การซ้ำของ CGG แบ่งได้เป็น 4 แบบ ตามจำนวนซ้ำ คือ 1. ) น้อยกว่า 40 ชุด พบในคนปกติ 2. ) 41-55 ชุด (intermediate) ยังไม่แสดงอาการ มีการถ่ายทอดไปยังบุตร 3. ) 56-200 ชุด พบในคน ที่เป็นพาหะ เรียกว่า premutation 4. ) CGG มากกว่า 200 ชุด พบในคนที่เป็นโรค (full mutation) ความชุกของโรคในผู้ชายอยู่ที่ 1 ใน 4, 000 และผู้หญิงอยู่ที่ 1 ใน 6, 000-8, 000 และหากเป็นภาวะพาหะพบในชาย 1 ใน 800 และ ในผู้หญิงถึง 1 ใน 100-200 3. Hemoglobiopathy Hemoglobin (Hb) เป็นโปรตีนที่อยู่ภายในเม็ดเลือดแดงทำหน้าที่จับออกซิเจน Hb 1 หน่วยประกอบด้วย โปรตีน 4 สาย แบ่งเป็น สายแอลฟ่า (α-globin) 2 สาย และ เบต้า (β-globin) 2 สาย ภาวะฮีโมโกลบินผิดปกติ (Hemoglobinopathy) แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1. )

ก่อนการตั้งครรภ์คู่สามีภรรยาควรเข้ารับการตรวจพาหะโรคทางพันธุกรรม 2. หากสามีหรือภรรยาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตรวจพบว่าเป็นพาหะ ควรมีการตรวจคู่สมรสอีกฝ่ายเพื่อวางแผนการมีบุตรและประเมินความเสี่ยง 3. หากตรวจพบว่าเป็นพาหะทั้งคู่ การตรวจติดตามในระหว่างตั้งครรภ์ (prenatal diagnosis)อย่างใกล้ชิดมีความสำคัญ เพื่อลดความเสี่ยงจากการที่ลูกจะได้รับการถ่ายทอดยีนจากพ่อหรือแม่หรือทั้งคู่ 4. เมื่อตรวจพบว่าตนเองเป็นพาหะของโรคทางพันธุกรรม ควรแนะนำให้ญาติตรวจด้วยเนื่องจากมีความเสี่ยงที่จะเป็นพาหะเช่นเดียวกันแต่ละคนสามารถมียีนแฝงของโรคทางพันธุกรรมที่ก่อให้เกิดโรค หากมีการตรวจคัดกรองยีนและทราบว่าตนเองมียีนแฝงหรือไม่ จะได้มีการวางแผนอย่างมีประสิทธิภาพและเตรียมพร้อมสำหรับการมีบุตรเพื่อความปลอดภัยทั้งของแม่และเด็ก บทความโดย คุณศิวะเดช ชูดวง นักวิทยาศาสตร์, ห้องปฏิบัติการพันธุศาสตร์ โรงพยาบาลเจตนิน วารสารวิชาการเจตนิน Vol. 11 No. 1

พญ. ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล สาขาวิชาเวชพันธุศาสตร์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล คลิกชมคลิปรายการ ""โรคแอลเอสดี"โรคหายากที่พบมากขึ้นในประเทศไทย: พบหมอรามา ช่วง Meet The expert" ได้ที่นี่

วันที่ 25 มี. ค. 2565 เวลา 07:10 น. "ศ. นพ. ยง ภู่วรวรรณ" เผย ผลการศึกษา โรคใหลตาย ในไทย ชี้สาเหตุสำคัญหนึ่ง คือ พันธุกรรม ระบุ วิธีรักษาต้องใส่เครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติ ICD เมื่อวันที่ 25 มี. 65 ศ. ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้านไวรัสวิทยา คลินิกภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ระบุว่า โรคใหลตาย ในประเทศไทย กับการศึกษา โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ในปี 2540 นายแพทย์กุลวี เนตรมณีและคณะ ได้ทำการศึกษาผู้ป่วยไทยจำนวน 27 คนที่รอดชีวิตจากอาการซึ่งเข้าได้กับภาวะใหลตาย ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นชาวอีสาน พบว่า 16 ใน 27 คน (59%) ของผู้ป่วยกลุ่มนี้มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เหมือนกับกลุ่มอาการ Brugada syndrome ซึ่งมีการรายงานครั้งแรกในหลายประเทศในทวีปยุโรปในปีพ. ศ. 2535 ในปัจจุบันเชื่อว่าภาวะ Brugada syndrome เป็นภาวะที่สำคัญที่สุดที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตขณะนอนหลับโดยไม่ทราบสาเหตุ การเสียชีวิต เกิดจากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ventricular fibrillation (ภาวะหัวใจห้องล่างเต้นระรัว พริ้ว) พบได้ทุกภาคในประเทศ โดยเฉพาะภาคอีสานและภาคเหนือ ผู้ป่วยจำนวนมากมีประวัติของภาวะนี้ในบุคคลในครอบครัว ทำให้บ่งชี้ว่าพันธุกรรมเป็นสาเหตุที่สำคัญหนึ่งของโรคนี้ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ศ.

saura9.com, 2024