saura9.com

E Commerce ไทย – E-Commerce ไทย จะโตเกินเท่าตัวในอีก 5 ปี ตรงไหนคือโอกาส?

September 7, 2022, 10:54 pm

เจาะลึก 12 เทรนด์ E-Commerce ของไทยในปี 2020 โดยกูรูของวงการ 'ป้อม ภาวุธ พงษ์วิทยภานุ CEO and Founder ' เพื่อเป็นไกด์ไลน์ให้กับผู้ประกอบการชาวไทยในการรับมือกับการแข่งขันและการเปลี่ยนเเปลงของตลาดในปีนี้ ซึ่งหลายสัญญาณบ่งบอกว่า ตลาดยิ่งโต ตัวกลางยิ่งอยู่ยาก 1.

  1. E-COMMERCE PLATFORM แปลว่า - การแปลภาษาไทย
  2. Online
  3. ส่องตลาด E-commerce ในไทย เป็นอย่างไรกันบ้าง? | IH Digital
  4. E-commerce เขียนเป็นคำไทยว่าอะไร - คำทับศัพท์
  5. Voathai.com

E-COMMERCE PLATFORM แปลว่า - การแปลภาษาไทย

Online

ส่องตลาด E-commerce ในไทย เป็นอย่างไรกันบ้าง? | IH Digital

  • E commerce ไทย group
  • ใครกันที่เป็นเจ้าตลาด e-Commerce ในไทย ?
  • หนัง red tails games
  • E commerce ไทย company
  • กระดาษ 80g B4 Qแดง 500p - Bangplee Stationery
  • E commerce ไทย org
  • E commerce ไทย state
  • We mall ของ ปลอม hotel
  • E-commerce ไทยโตพุ่งอันดับ 1 อาเซียน

E-commerce เขียนเป็นคำไทยว่าอะไร - คำทับศัพท์

ในช่วงที่ผ่านมา ตลาด E-commerce ในไทย มีความคึกคัก และ เติบโตขึ้นอย่างมาก จากปัจจัยเสริมต่าง ๆ ที่เข้ามาเป็นตัวเร่ง ซึ่งวันนี้เราได้รวบรวมข้อมูล E-commerce มาแบ่งปันกับคุณ เพื่อช่วยให้คุณเข้าใจถึง E-commerce ของประเทศเรามากยิ่งขึ้น ทั้งยังช่วยเสริมแรงให้คุณตัดสินใจเริ่มเดินหน้าทำ ธุรกิจ E-commerce ต่อยอดธุรกิจไปในแบบดิจิทัลอย่างจริงจัง เพราะในปัจจุบันนี้ธุรกิจไหนที่ยังไม่ได้เริ่มทำ การตลาด E-commerce อาจจะถือได้ว่าขยับตัวช้ากว่าคู่เเข่งไปแล้ว ปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการขยายตัวของ E-commerce ในไทย นโยบาย Thailand 4. 0: นโยบายของรัฐบาลไทย ที่มุ่งจะพัฒนาประเทศในหลากหลายด้าน ซึ่งการพัฒนานี้รวมไปถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัล ที่ส่งผลดีโดยตรงมากมายต่อ E-commerce และ ส่งเสริมให้ E-commerce เข้าถึงประชาชนชาวไทยอย่างทั่วถึงอีกด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจน เช่น Prompt Pay (พร้อมต์เพย์) พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย: ตัวเลขสถิติในด้านนี้ของคนไทยน่าสนใจมาก เพราะ จำนวนอุปกรณ์สื่อสารที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ในประเทศไทยมีสูงถึง 93. 39 ล้านเครื่อง มากกว่าจำนวนประชากรของประเทศที่มีอยู่ 67.

Voathai.com

ศ. 2020 – 2021) ชาวไทย ใช้งานแพลตฟอร์มดิจิทัลสูงสุดใน SEA (ไม่รวมสิงคโปร์) วิถีแบบ 'New Normal' คือปัจจัยหลักที่เพิ่มขึ้นของจำนวนการใช้งานแพลตฟอร์มดิจทัลในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งสอดคล้องกับ รายงานของ Google, Temasek และ Bain & Company หากนำตัวเลขผู้ใช้งานมาเปรียบเทียบจะเห็นว่า คนไทยมีการใช้งานแพลตฟอร์มดิจิทัลสูงสุดในภูมิภาคถึง 89. 99% แบ่งอัตราส่วนเป็นก่อนการแพร่ระบาด 73. 7%, ช่วงแพร่ระบาดจนถึงครึ่งปีแรกของปี 2021 อีก 16. 2% และผู้ที่ไม่ได้ใช้งานเพียง 10. 1% โดยการเปรียบเทียบนี้จะไม่รวมประเทศสิงคโปร์เพราะจำนวนประชากรมีจำกัด ซึ่งดูจะเป็นเรื่องปกติสำหรับการช้อปปิ้งออนไลน์ ด้วยความเชื่อที่ว่า 'เทคโนโลยีทำให้ชีวิตง่ายยิ่งขึ้น' บวกกับความสะดวกสบาย เป็นเหตุทำให้ผู้คนหันมาใช้งานแพลตฟอร์มดิจิทัลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผู้คนส่วนใหญ่จะเน้นการช้อปสินค้าทั่วไป (65%), สินค้าเพื่อสุขภาพ และความงาม (62%), เสื้อผ้า (60%) และอิเล็กทรอนิกส์ (53%) นอกเหนือจากแพลตฟอร์มที่อ้างอิงข้างต้น จะมีในส่วนของการขนส่งอาหาร (64%), วิดีโอ (54%), และดนตรี (51%) ที่มา: Google-commissioned Kantar SEA e-Conomy Research 2021.

ข้อมูลประเภทสินค้าที่คนชอบช้อปปิ้งออนไลน์ในปี 2021 สัดส่วนการใช้เงินบนออนไลน์ที่เกิดขึ้นทั่วโลกในปี 2020 จะเห็นว่าสินค้าประเภทแฟชั่นเป็นอะไรที่คนทั่วโลกใช้เงินมากที่สุด แต่หมวดหมู่อาหารและของใช้ส่วนตัวกลับมีการเติบโตสูงสุดถึง 41% ก็ไม่แปลกใจเพราะในช่วงล็อคดาวน์ใครๆ ก็สะดวกใจที่จะสั่งอาหารผ่าน​ Food Delivery มากกว่า และที่ลดลงมากที่สุดก็เดาได้ไม่ยาก นั่นก็คือในหมวดหมู่การท่องเที่ยวนั่นเองครับ 6. คนไทยใช้เงินกับ Consumer goods 216 ดอลลาร์ในปี 2020 จากข้อมูลการใช้เงินช้อปปิ้งออนไลน์กับหมวดหมู่ Consumer goods ของคนไทยนั้นยังถือว่าต่ำมากเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยโลก เพราะในปี 2020 คนไทยใช้เงินกับสินค้าหมวดหมู่นี้แค่ 216 ดอลลาร์เท่านั้น แต่ค่าเฉลี่ยโลกสูงถึง 703 ดอลลาร์ และชาติที่ใช้เงินกับ Consumer goods มากที่สุดคือเกาหลีใต้ ใช้เงินถึง 2, 012 ดอลลาร์ในปีที่ผ่านมา เรียกได้ว่าแทบจะไม่ซื้อของเข้าบ้านด้วยตัวเองกันแล้วมั้งครับเนี่ย 7. สัดส่วน E-commerce เทียบกับ GDP ในปี 2020 ประเทศที่ช้อปปิ้งออนไลน์หรือใช้เงินกับ E-commerce มากที่สุดในโลกเมื่อเทียบกับ GDP ในปี 2020 คือประเทศจีน สูงถึง 11. 8% ตามมาด้วยเกาหลีใต้แต่ตัวเลขอยู่ที่ 6.

saura9.com, 2024